Big Title
…..พหุนามดีกรีสองตัวแปรเดียว คือ พหุนามที่เขียนได้ในรูป ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นค่าคงตัว ที่ a ≠ 0 และ x เป็นตัวแปร เพื่อความสะดวกในการหาข้อสรุปของวิธีแยกตัวประกอบของหพุนาม ax2 + bx + c จะเรียก ax2 ว่า พจน์หน้า เรียก bx ว่า พจน์กลาง และเรียก c ว่า พจน์หลัง ซึ่งการแยกสามารถทำได้ดังนี้
ตัวอย่างเช่น จงแยกตัวประกอบของ 5x2 – 11x + 2
ขั้นที่ 1 …แยกพจน์หน้าเป็นสองพจน์ ได้ 5x กับ x
……………………………..(5x ……..)(x……..)
ขั้นที่ 2 …แยกพจน์ท้ายออกเป็นสองจำนวนคูณกัน ได้ (-2)×(-1) นำไปใส่ในขั้นตอนที่ 1 สามารถใส่ได้ 2 แบบ คือ
……………………………..(5x – 2)(x – 1) กับ (5x – 1)(x – 2)
ขั้นที่ 3 …หาพจน์กลางจากขั้นตอนที่ 2 โดยนำ (ใกล้ ×ใกล้) + (ไกล ×ไกล) ถ้าได้ผลลัพธ์เป็น -11x แสดงว่าการแยกตัวประกอบนั้นถูกต้อง
……………. ดังนั้น 5x2 – 11x + 2 = (5x – 1)(x – 2) ตอบ
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
ตัวอย่างที่ 6 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
……………………………..
ตัวอย่างที่ 7 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
……………………..
…………..หรือ…….
ตัวอย่างที่ 8 จงแยกตัวประกอบของ
วิธีทำ…….
……………………..
…………..หรือ…….
เสริมอีกเพื่อฝึกความแม่นยำ…จงแยกตัวประกอบของพหุนามต่อไปนี้
-
2x2 + 9x – 5 = (2x – 1)(x + 5)
-
15x2 – 41x + 28 = (5x – 7)(3x – 4)
-
18x2 + 27x + 10 = (6x + 5)(3x + 2)
-
5x2 – 8x – 21 = (5x + 7)(x – 3)
-
10x2 – 31x + 15 = (2x – 5)(5x – 3)
-
– 5x2 + 22x – 8 = – (5x2 – 22x + 8) = – (5x – 2)(x – 4)
เพื่อเกิดความเข้าใจยิ่งขึ้น ให้นักเรียนดูจากคลิปวิดีโอ 2 คลิป ต่อไปนี้นะครับ
คลิปจาก YouTube –> คลิปที่ 1 | คลิปที่ 2 |
เป็นอย่างไรบ้างครับ เข้าใจกันบ้างไหมเอ่ย เพื่อให้เข้าใจยิ่งขึ้น ให้นักเรียนทำการดาวน์โหลดใบงานไปฝึกทำลองดูนะครับ ได้ผลอย่างไร ให้ความเห็น ได้เลยครับ
หรือคลิกดาวน์โหลดที่ >>> Factorise of Ax2 + Bx + C
เขียนใน คณิตเพิ่มเติม ม.2
ป้ายกำกับ: การแยกตัวประกอบ, การแยกตัวประกอบของพหุนาม, พหุนามดีกรีสอง